Aracha Cholitgul
2020 Next Door to the Museum Artist-in-Residence

Artist:  Aracha Cholitgul
Online Residency:  Nov. 5 - Dec. 02, 2020
Venue:  Instagram @im_there_r_u_here

Online Artist Talk
Date: 6pm, Dec. 1, 2020
Venue: Untitled Bookstore, Jeju Island, South Korea
im_there_r_u_here
Residency catalogue, limited edition of 77

Sponsored by Jeju Foundation for Arts & Culture

Instagram Live meetings between Aracha Cholitgul in Chiang Mai and Yujin Lee in Jeju

Due to the pandemic, Aracha Cholitgul, a visual artist based in Bangkok, Thailand, was unable make her trip to Jeju, South Korea, for her residency at the Next Door to the Museum Jeju. As many international art events and exchanges were moving online, Cholitgul also decided to go online instead of cancelling the residency. With this decision, Yujin Lee and Aracha Cholitgul created a joint Instagram account @im_there_r_u_here to run the residency from November 5th to December 2nd, 2020. In the process, Lee and Cholitgul explored various ways to create art while keeping the spirit of what an international artist residency can be. The resulting work demonstrates a new way of sharing each other's life and art, and Lee and Cholitgul's collaborative endeavor continues to this day.
방콕을 베이스로 활동하는 시각 예술가 아라차 촐릿굴은 이유진의 초청으로 미술관옆집 제주 창작 레지던시에 입주할 예정이었지만, 코로나19 팬테믹의 여파로 불발되고 말았다. 당시 여타  국제 예술 전시 및 행사가 온라인으로 전환되고 있었던 만큼, 촐릿굴 작가의 레지던시 또한 온라인으로 전환되었고, 이를 위해 이유진과 촐릿굴은 인스타그램 공동 계정 <im_there_r_u_here>를 만들었다. 2020년 11월 5일부터 12월 2일까지 소셜미디어 플랫폼 기반 온라인 레지던시를 진행하는 과정에서 이유진과 촐릿굴은 비대면 시대를 맞아 대안적이고 창의적인 문화예술 교류 방법을 함께 모색했다. 협동 작업으로 발전한 당시의 실험은 지금까지도 이어지고 있다.
Left: Ping River, Chiang Mai / Right: Mt. Halla, Jeju
Left: Ping River, Chiang Mai / Right: Mt. Halla, Jeju
Left: Drawing by Yujin Lee / Right: Drawing by Aracha Cholitgul
Left: Drawing by Yujin Lee / Right: Drawing by Aracha Cholitgul
Left: Drawing by Yujin Lee / Right: Painting by Aracha Cholitgul
Left: Drawing by Yujin Lee / Right: Painting by Aracha Cholitgul
Aracha Cholitgul (b.1988) is an artist based in Bangkok, Thailand. 
She is interested in relationships of all kinds, personal stories, and intimacy.
Cholitgul has high myopia and the idea of blurry visions intrigues her.
She thinks about uncertainty often.
Cholitgul always works with what she can touch.
Most of the time, she draws, paints, writes, and sculpts - anything using hands, sometimes photography, too.    
(She has a habit of touching other people’s artwork, but she’s working on improving that.
อรช โชลิตกุล (เกิดปี ๒๕๓๑) เป็นศิลปินอยู่ที่กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
อรชสนใจในความสัมพันธ์ทุกชนิด เรื่องราวส่วนตัว เเละ ความใกล้ชิด
อรชสายตาสั้นมากเเละคิดว่าสิ่งที่มองเห็นไม่ชัดนั้นน่าค้นหา
เธอมักจะคิดถึงความไม่เเน่นอนอยู่บ่อยครั้ง
อรชมักทำงานกับสิ่งที่เธอสามารถสัมผัสได้ด้วยมือ
โดยส่วนใหญ่เเล้วอรชวาดรูป ระบายสี เขียน เเละ ปั้น - อะไรก็ได้ที่ใช้มือทำ
บางครั้งก็ถ่ายรูปด้วยเหมือนกัน
(อรชติดนิสัยชอบจับงานคนอื่นเเต่กำลังพยายามเลิกนิสัยนี้อยู่)
아라차 촐릿굴은 태국 방콕을 기반으로 활동하는 예술가다.
그는 모든 종류의 ‘관계’와 개인의 서사 그리고 ‘친밀함’의 형성에 주목한다.
심각한 ‘근시’로 인해 볼 수 있는 ‘모호한 형체’들은 그의 호기심을  자극한다.
그는 자주 ‘불확실성’에 대해 생각한다.
그리고 항상 만질 수 있는 주제를 다룬다.
드로잉, 페인팅, 조각, 그리고 가끔은 사진 등 주로 손을 쓰는 매체를 선택한다.
(사실 다른 작가의 작품을 손으로 만지는 습관이 있는데, 이 버릇은 고쳐보려 노력 중이다.)

Yujin Lee (b. 1986) is a visual artist based in Jeju Island, South Korea. Her work takes various forms, such as drawing, performance, video, and site-specific installation. She depicts stories of people in her life, whether that is a member of her family, close friends and distant acquaintances, or even other artists. In the beginning of 2019, she moved into a rural farmhouse in Jeju. Since then, she has offered artists to live and work with her on the compound, as an effort to bring the relational aspect of her practice into daily life.
ยูจิน ลี (เกิดปี ๒๕๒๙) เป็นศิลปะอยู่ที่เกาะเชจู ประเทศเกาหลีใต้
ยูจินทำงานในหลายรูปเเบบเช่นการวาดรูป การเเสดง วิดีโอ เเละงานติดตั้งตามเเปรเปลี่ยนตามพื้นที่
โดยเล่าเรื่องเกี่ยวกับผู้คนในชีวิตของเธอ ไม่ว่าจะเป็นครอบครัว เพื่อนสนิท คนรู้จักห่างๆ หรือศิลปินคนอื่นๆ
ในตอนต้นปี ๒๕๖๒ ยูจินย้ายเข้าบ้านสวนในชนบทที่เชจูเเละชวนศิลปินคนอื่นๆมาอาศัยเเละทำงานด้วยกันในพื้นที่ เพื่อนำเอาความเกี่ยวโยงทางกระบวนการทำงานศิลปะมาใช้ในชีวิตประจำวัน
이유진은 제주도를 기반으로 활동하는 시각 예술가다. 그의 작업은 드로잉, 퍼포먼스, 영상, 장소 특정적 설치 등 다양한 형태를 취한다. 작품의 주제로 주변 사람들의 이야기를 담아내는데, 가족, 친구, 지인, 혹은 다른 예술가들의 삶을 기록 한다. 2019년 초, 제주도 농가주택에 입주하면서 다른 예술가들과 함께 생활하고 작업할 수 있는 공간을 제공하기 시작했고, 이는 그의 작업에 담겨 있는 관계론적 태도를 일상 속으로 가져오기 위한 하나의 시도이자 실험이다.

Aracha Cholitgul x Yujin Lee x Parinot Kunakornwong

Digital Drawing Conversation using online whiteboard, Nov. 26th, 2020

Still from a video documentation

Yujin Lee x Aracha Cholitgul

Drawing Conversation between Chiang Mai - Jeju, Nov. 28th, 2020

Top left/Bottom right by Aracha Cholitgul

Top right/Bottom left by Yujin Lee

핑퐁, 핑퐁 – 제3지대 공간과 교차된 시간들
: 이유진과 아라차 촐릿굴의 ‘인투 제주 온라인 창작 레지던시’를 바라본 몇 가지 소고들
Ping Pong, Ping Pong - The third domain and the intersecting world of time : Thoughts on Yujin Lee and Aracha Cholitgul’s Into Jeju Online Art Residency
ป๊อกเเป๊ก ป๊อกเเป๊ก - พื้นที่เเห่งที่สามเเละโลกที่เป็นจุดตัดของเวลา
: ความเห็นต่อโครงการศิลปินพำนัก ‘Into Jeju’ ของยูจิน ลี เเละ อรช โชลิตกุล

이연주, 큐레이터 
Curator Yeonju Lee
ภัณฑารักษ์ ยอนจู ลี

1. 고립된 개인화(個人化) 세계를 서술하기(각주1) 
1. Describing a World of Isolated Personalization
1. อธิบายโลกที่ความเฉพาะบุคคลอันเเยกเดี่ยว(1)

1) 우리는 매일 불안을 먹고 산다. 
1) Everyday, we feed on anxiety.
1) เราประทังชีวิตอยู่บนความวิตกกังวลทุกวัน
작년 이맘쯤에는 전시나 행사 방문 스케쥴이 다이어리에 빼곡하게 적혀있었다. 각 기관 레지던시는 오픈스튜디오나 결과보고전이 한창 개최되고, 미술관을 비롯한 여러 전시공간에서는 마지막 분기에 계획된 전시와 행사들이 개막했다. 그리고 미쳐 보지 못한 곧 폐막하는 전시까지 틈틈이 관람하러 다니다 보면 한 해의 마지막 달은 그렇게 마무리가 되었다. 그러나 지금은 예정되었던 행사가 취소되거나 관람을 할 수 없으며, 단골로 다녔던 동네 카페에서도 테이크아웃만 가능하거나, 그마저도 장기휴업하거나 폐점으로 갈 수 없는 곳이 늘어났다. 하루에도 몇 번씩 울리는 문자에는 ‘필수외출을 제외한 사회적 거리두기와 개인방역수칙’를 준수하기를 권고하는 내용이 반복되고 있다.
Around this time last year, my schedule was packed with exhibitions to see and events to attend. Open studios and final exhibitions of many artist residency programs were in full swing, as well as openings of end-of-year exhibitions and events held by numerous art museums. On top of which, I would be running around trying to catch the last days of other exhibitions that have been on my list. The last month of the year always flew by in a blink of an eye. Today, however, many events are canceled and exhibitions closed. Even the favorite local cafes either only allow take-outs or are temporarily or permanently closed. Every day, I receive multiple public safety texts urging me to comply with “social distancing and individual quarantine recommendations, except in the case of emergency.”
ในช่วงเวลานี้ของปีที่เเล้ว ตารางของฉันอัดเเน่นไปด้วยนิทรรศการที่ต้อง
ไปดูเเละอีเว้นท์ต่างๆที่ต้องไปเข้าร่วม การเยี่ยมชมสตูดิโอเเละนิทรรศการ
ปิดโครงการศิลปินพำนักก็ดำเนินไปอย่างสุดเหวี่่ยง อีกทั้งยังมีงานเปิด
นิทรรศการส่งท้ายปีเเละอีเว้นท์ต่างๆมากมายที่จัดขึ้นโดยพิพิธภัณฑ์ศิลปะ 
ฉันเองก็ต้องวิ่งไปนู่นไปนี่เพื่อให้ทันวันสุดท้ายของนิทรรศการต่างๆที่อยู่ใน
รายชื่อ เดือนสุดท้ายของปีมักจะผ่านพ้นไปอย่างรวดเร็ว เเต่ในปัจจุบัน 
อีเว้นท์ต่างๆถูกยกเลิกเเละนิทรรศการก็ถูกปิด เเม้เเต่ร้านกาแฟร้านโปรด
ในท้องถิ่นยังให้เเค่ซื้อกลับบ้าน หรือไม่ก็ปิดชั่วคราว ส่วนบางที่นั้นปิดตัว
ไปเลยอย่างถาวร ทุกวันนี้ฉันได้ข้อความเตือนความปลอดภัยหลายข้อ-
ความให้คอยปฏิบัติตาม “การเว้นระยะห่างทางสังคมเเละคำเเนะนำใน
การกักตัวอย่างเคร่งครัด ยกเว้นในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉิน”
우리는 매일 불안을 먹고 산다. 2020년 새해를 맞이하면서 우리가 맞닥뜨린 것은 우리의 신체를 통제하고 삶을 불안으로 잠식시켜버린 재난이라는 비일상이다. 자연재해나 전쟁과 같은 인재가 아닌 지금까지 겪어보지 못한 전세계적으로 동시다발적으로 퍼지는 이 재난이 뿜어내는 공포감은 빠른 속도로 각 지역사회와 개개인에게 전염되며 이전까지 없었던 혐오와 차별까지 야기하게 되었다.
Everyday, we feed on anxiety. Entering the year 2020, we have encountered an extraordinary situation caused by catastrophe that began to control our bodies and erode our lives with anxiety. Unlike a natural disaster or war, this catastrophe simultaneously spread across the globe, contaminating individuals and communities with fear that has caused an unprecedented hatred and discrimination.
 
เราประทังชีวิตอยู่บนความวิตกกังวลในทุกๆวัน ตั้งเเต่เข้าปี๒๕๖๓มา 
พวกเราได้เผชิญกับสถานการณ์ไม่ธรรมดาอันเกิดจากภัยอันตรายที่เข้ามา
ควบคุมร่างกายเเละผุกร่อนชีวิตของเราด้วยความวิตกกังวล วิกฤตการณ์นี้
ไม่เหมือนกับภัยธรรมชาติหรือสงคราม เนื่องจากมันเเพร่กระจายพร้อมกัน
ในทุกพื้นที่ของโลก มันปนเปื้อนผู้คนเเละชุมชนด้วยความหวาดกลัวซึ่งทำ
ให้เกิดการเลือกปฏิบัติเเละความเกลียดชังอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน
작금의 우리에게 생존에 대한 공포를 일상으로 내몰고 비일상을 일상으로 변이시켜버린 재난의 출현, 코로나바이러스감염증-19(이하 코로나19)의 대유행은 2019년 12월, 한 국가의 정부가 최초 감염 보고 이후 불과 몇 개월 만에 특정 지역의 풍토병이 아닌 범지구적 대확산기로 도래하게 되었고, 전 세계가 일시적으로 마비가 된 듯 이 전에는 경험해보지 못한 상황들을 겪게 되었다.
The emergence of a catastrophe has recently placed the fear of survival into our daily concerns and converted abnormality into normalcy. Since the reporting of its first case in December 2019, the coronavirus disease 2019 (hereinafter referred to as COVID-19) ceased to be an endemic of a particular region and in just a few months spread worldwide, paralyzing the entire globe in oblivion.
การปรากฏตัวอย่างกะทันหันของวิกฤตการณ์เมื่อเร็วๆนี้ ทำให้ในชีวิตประจำวันของเราเต็มไปด้วยความกลัวที่จะเอาตัวรอดเเละมันได้เปลี่ยนสิ่งที่ไม่ปกติให้กลายเป็นความปกติ ตั้งเเต่ที่มีการรายงานผู้ป่วยคนเเรกในเดือนธันวาคมปี๒๕๖๒ โรคระบาดที่เกิดจากไวรัสโคโรน่า 
(ในที่นี้จะเรียกว่า โควิด-๑๙) ไม่ได้หยุดการเเพร่กระจายอยู่เเค่ในภูมิกาค หากเเต่ภายในระยะเวลาไม่กี่เดือนก็ได้เเพร่ระบาดไปทั่วโลกเเละทำให้โลกนี้กลายเป็นอัมพาต
신자유주의 시대에 살아온 우리는 스스로를 굳게 믿었다. 전염병이 유행하기 시작했을 초기에는 사스와 메르스, 신종플루와 같이 금방 정복시킬 것이라고. 그러나 그 믿음은 한순간에 무너지게 되는데, 이 오만하고 안일했던 태도는 WHO(세계보건기구) 설립 이래 세 번째로 선포된 팬데믹(pandemic, 국제적 공중보건 비상사태)시대이라는 예정된 비극으로 달려가게 되었다. 
Living in the age of neoliberalism, we had faith in ourselves. In the early days of the epidemic, we believed that we could keep it under control, as we did with SARS, MERS, and the swine flu. Regrettably, this hope shattered in a flash, and such an arrogant and complacent attitude has driven us all into an awaited tragedy of living in the era of pandemic, only the third one to be declared by the WHO (World Health Organization).
ในการใช้ชีวิตอยู่ในยุคของเสรีนิยมใหม่นั้น พวกเราศรัทธาในตัวเอง 
ในช่วงเเรกของการเเพร่ระบาด พวกเราเชื่อว่าจะสามารถควบคุมมันได้ 
เหมือนกับที่เราได้จัดการกับ SARS, MERS เเละ ไข้หวัดหมูมาเเล้ว 
น่าเสียดายที่ความคาดหวังนี้พังทลายลงภายในชั่วพริบตา เเละทัศนคติอัน
เย่อหยิ่งดังกล่าวได้ผลักให้พวกเราทุกคนเข้าสู่โศกนาฏกรรมของการต้องใช้
ชีวิตอยู่ในยุคของโรคระบาด ซึ่งเป็นเพียงครั้งที่สามเท่านั้นที่ถูกประกาศโดย
WHO (องค์การอนามัยโลก)

2) 제로 지점에 선 유령들
2) Ghosts that meander at the zero point
2) วิญญานที่วนเวียนอยู่ที่จุดศูนย์
전 세계 곳곳에서 전염병의 영향으로 인한 오작동이 동시다발적으로 일어나고 있다. 역사상 처음 전쟁이 아닌 이유로 올림픽을 연기할 정도로 이 바이러스는 사회 전반을 위기로 몰아넣었다. 
Under the spread of an infectious disease, many glitches have simultaneously appeared in various parts of the world. The virus pushed the world into crisis to the extent of the Olympics being postponed for the first time for a reason other than a war.
ภายใต้การเเพร่กระจายของโรคติดต่อนั้น ปัญหาข้อบกพร่องจำนวนมากเกิดขึ้นพร้อมกันในหลายพื้นที่ของโลก เชื้อไวรัสได้ผลักให้โลกส่วนใหญ่เข้าสู่วิกฤตถึงขั้นที่กีฬาโอลิมปิกต้องถูกเลื่อนด้วยสาเหตุอื่นที่ไม่ใช่สงครามเป็นครั้งเเรก
오랜 시간 힘들게 붙들고 있던 문화예술계의 가느다란 생존력은 바이러스로 인해 한순간에 무너졌다. 전시와 공연은 연기되거나 취소가 되고, 해외작가를 초청하는 국제전을 비롯하여 레지던시나 국제행사 등 국가 간에 이동이 필요한 교류는 일정 자체를 포기해야했다. 예술계의 셧다운은 아티스트를 비롯한 관련 종사자들의 생계를 바닥으로 떨어지게 되었고, 각국의 정부들은 예술계를 위한 긴급지원금을 급히 마련해야 했다. 당장 자생력이 떨어진 예술계가 공적기금의 의존 외에는 해결방법이 보이지 않을 정도로 우리는 새로운 시대에 대한 대응책을 준비하지 못한 채 제로 지점에서 유령처럼 떠돌기 시작한 것이다.
The virus also crushed the arts and cultural sector, which has been precariously surviving on a thin lifeline for a while. Exhibitions and performances were postponed or canceled, and international exhibitions and residencies that required physical travel between countries had to be abandoned. The shutdown impacted the livelihoods of the industry and its artists, urging each government to implement a prompt emergency subsidy into the arts and cultural sector. Without public funds, there seems to be no other way for the art world to survive. Not able to self-sustain, we started to meander like ghosts at the zero point, entering the new era without a solution of our own.
เชื้อไวรัสนั้นยังได้บดขยี้ภาคส่วนทางวัฒนธรรมด้วย ซึ่งอันที่จริงเเล้วก็
เกือบจะไม่รอดมาสักพักเเล้ว นิทรรศการเเละการเเสดงถูกเลื่อนหรือยกเลิก 
นิทรรศการจากต่างชาติรวมถึงโครงการศิลปินพำนักที่จำเป็นต้องใช้ร่าง-
กายเดินทางข้ามประเทศนั้นก็ได้ถูกทอดทิ้ง การปิดตัวลงของโลกศิลปะได้
ส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของอุตสาหกรรมนี้และศิลปินทั้งหมด 
เหตุการณ์นี้เรียกร้องให้รัฐบาลของเเต่ละพื้นที่ใช้เงินช่วยเหลือฉุกเฉินกับ
ภาคส่วนด้านศิลปะเเละวัฒนธรรมอย่างเร่งด่วน 
มันเหมือนกับว่าจะไม่มีช่องทางอื่นเเล้วที่โลกศิลปะจะอยู่รอดได้โดยไม่พึ่งพาเงินอุดหนุนสาธารณะ เเละเมื่อไม่สามารถคงอยู่ได้ด้วยตัวเอง พวกเราก็ได้เเต่วนเวียนเหมือนกับ
วิญญานที่จุดศูนย์ ที่เข้าสู่ยุคใหม่โดยที่ไม่มีวิธีการเเก้ปัญหาของตัวเอง
이 극단적인 상황의 원인은 무엇일까. 과학기술과 이동수단의 발전은 한 도시, 국가에서 간헐적으로 발생했다가 종식될 수도 있었을 법한 새로운 전염병의 확산을 부추기는 요인이 되었다. 반면에 디지털 기술로 구축된 가상세계는 물리적 단절이 되어버린 현 상황을 대체할 장소로 한순간에 높은 지위를 획득하게 된다. 온라인망을 통해 실시간으로 전송되는 정보의 양은 점점 더 비대해지고 있으며, 비대면으로도 가능한  유통망 사업은 확장되고 있다.  동전의 양면처럼 팬데믹 상황은 과학기술의 발전을 더욱 촉발시키고 디지털 생태계 속에 새로운 관계를 유발시키는 것이다. 따라서 개개인은 각자의 한정된 공간 안에 ‘고립’되었을지라도, 폭발적으로 성장하고 있는 디지털 환경과 그에 수반하는 정보들을 각자 필요와 취향에 맞게 선택하고 편리하게 설계하는 ‘개인화된 세계’가 되고 있다.
What caused this unusual situation? The spread of this new infectious disease that could have sporadically occurred and died down within a city or a nation was unexpectedly propelled by the advancement of science, technology and means of transportation. On the flip side, the virtual (online) world established by digital technology has been elevated to be the ultimate answer to the current situation of physical disconnection. The frequency and amount of an online exchange of information has soared and the non-face-to-face offline distribution network businesses have thrived. In other words, like the two sides of a coin, the pandemic triggered a renaissance of science and technology, while nurturing a new kind of relationships in the digital ecosystem. Therefore, even though individuals are “isolated” in their own limited space, the world is becoming more “personalized,” as each individual is given access to the fiercely expanding digital environment and its accompanying data to build a world according to their particular needs and tastes.
อะไรทำให้เกิดสถานการณ์อันไม่ปกตินี้? การเเพร่กระจายของโรคติดต่อที่น่าจะเกิดขึ้นเพียงประปรายเเล้วก็หายไปจากเมืองๆหนึ่งหรือประเทศๆหนึ่งนั้นถูกความเจริญก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์, วิทยาการเเละเดินทางนั้นช่วยให้มันเเพร่กระจายอย่างรวดเร็ว เเต่ในอีกเเง่หนึ่ง โลกเสมือน(ออนไลน์)ที่เกิดขึ้นจากวิทยาการดิจิตัลนั้นถูกยกระดับให้กลายเป็นคำตอบสุดท้ายของการขาดความเชื่อมต่อทางกายภาพในสถานการณ์ปัจจุบัน ความถี่เเละปริมาณของการเเลกเปลี่ยนข้อมูลออนไลน์นั้นพุ่งสูงขึ้นอย่างรวดเร็วเเละธุรกิจเครือข่ายกระจายสินค้าเเบบไม่ต้องเจอหน้าก็เจริญเติบโต ทั้งนี้เเล้วก็เหมือนกับสองด้านของเหรียญ วิกฤตโรคระบาดได้กระตุ้นการ
เกิดใหม่ของการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์เเละวิทยาการ ในขณะเดียวกับที่
มันก็ได้บ่มเพาะความสัมพันธ์เเบบใหม่ในระบบนิเวศน์ดิจิตัล ดังนั้นเเล้ว 
ถึงเเม้ว่าผู้คนจะถูก ”เเยกเดี่ยว” ในพื้นที่จำกัดส่วนตัวของตัวเอง โลกใบนี้
ก็ได้มี “ความเฉพาะบุคคล” มากขึ้น เนื่องจากผู้คนสามารถเข้าถึงสภาพ-
เเวดล้อมดิจิตัลที่ขยายตัวออกมาพร้อมกับข้อมูลของมันเพื่อสร้างโลกส่วน-
ตัวได้ตามความต้องการเเละความชอบของเเต่ละคน

2. 장소와 장소 사이, 시간을 공유하는 제3의 플랫폼
2. In Between Places: a third platform to share time
2.ในพื้นที่ระหว่างกลาง: พื้นที่เเห่งที่สามสำหรับเเลกเปลี่ยนเวลา

1) 작가와 관람객이 사라진 미술 공간의 정적
1) The stillness of an art space without artists and visitors
1) ความนิ่งเงียบของพื้นที่ศิลปะอันปราศจากศิลปิน ปราศจากผู้เยี่ยมชม
가까운 시일 내에 백신이 나와 코로나19가 종식되더라도 팬데믹 이전으로 돌아갈 수 없음을 많은 사람이 예감하고 있다. 다가올 미래 세대와의 새로운 커뮤니케이션 방식과 콘텐츠에 대한 고민은 어느 분야를 막론하고 절실하다. 비록 대규모의 예산과 인력을 갖춘 공공기관이 팬데믹 사태를 대응할 힘을 갖췄더라도, 디지털 환경으로 급진한 현 국면에 대한 비판적 시각과 근본적인 성찰 없이는 새로운 시대에 밀려 도태될 수밖에 없을 것이다. 
Even if, in the near future, a vaccine arrives to end the spread of COVID-19, many people sense that the world would not simply return to the way it was before the pandemic. Hence, across the field, new content and methods are in desperate need in order to be able to communicate with the future generation. Public institutions with big budgets and labor forces are of course better equipped to respond to the pandemic situation. However, without a critical approach and a deep contemplation before abruptly entering the digital environment, they too will be pushed aside by the current of a new era.
ถึงเเม้ว่าในอนาคตอันใกล้จะมีวัคซีนมาหยุดการเเพร่ระบาดของโควิด-๑๙
ผู้คนจำนวนมากนั้นรับรู้ว่าโลกจะไม่กลับไปเป็นเหมือนก่อนการเเพร่ระบาด
ได้อีกเเล้ว ดังนั้น ไม่ว่าจะเป็นสาขาวิชาชีพไหนก็จำเป็นที่จะต้องเตรียม
เนื้อหาเเละวิธีการสื่อสารใหม่ๆสำหรับคนในยุคอนาคต สถาบันสาธารณะ
ที่มีเงินทุนเเละเเรงงานนั้นย่อมมีความพร้อมที่จะรับมือกับสถานการณ์
การเเพร่ระบาด เเต่ถ้าหากสถาบันเหล่านี้ไม่คอยสำรวจเเละปรับวิธีการ
ทำงาน หรือหากไม่ไตร่ตรองให้ละเอียดก่อนที่จะพุ่งตัวเข้าสู่สภาพเเวดล้อม
ดิจิตัลเเล้ว สถาบันเหล่านั้นก็จะถูกกระเเสคลื่นของยุคสมัยใหม่พัดให้ตกไป
ด้วยเช่นกัน
이러한 비판적 시각과 성찰의 시간이 미술계에도 절실하게 다가온다. 2020년 하반기에 접어들면서 미술계의 창작자를 비롯한 각 분야의 전문가들은 팬데믹 이전과 이후의 시대가 바뀌었음을 받아들이고, 지금까지와는 다른 혁명적 사고와 도전을 더 이상 늦출 수 없음을 자각하고 있다. 이제는 미술관이나 박물관이 유물을 보존, 연구하는 것 외에 전시를 개최하고 관람객이 찾아온다는 행위에 대한 근본적인 질문을 던져야 할 때가 온 것이다. 또한 예술가들에게 낯선 환경에서의 다양한 실험과 국제적인 인프라를 쌓는 기회의 장이었던 레지던시도 마찬가지이다.
Such criticality and self-reflection is called upon within the art world as well. Entering the second half of 2020, experts in each field, including artists, have acknowledged the beginning of a new era marked by the pandemic and that a revolutionary thinking and fortitude can no longer be delayed. A time has come for art institutions to question its role beyond creating exhibitions and attracting visitors in addition to its duties to preserve and research art and culture. The same kind of inquiry should be placed upon artist residencies, which have been providing artists opportunities to be exposed in an unfamiliar environment where they can conduct artistic experiments, as well as build a global network.
โลกศิลปะจำเป็นต้องคอยสำรวจสิ่งที่ทำเเละมองย้อนถึงตัวเองด้วยเช่นกัน 
เมื่อเข้าสู่ครึ่งหลังของปี๒๕๖๓ บรรดาผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ รวมถึง
ศิลปินก็ได้ยอมรับถึงการเริ่มของยุคใหม่ที่ถูกขีดรอยไว้โดยการเเพร่ระบาด 
วิธีคิดเเบบใหม่ที่จะล้มล้างวิธีคิดเเบบเดิมๆรวมถึงการต้องเตรียมพร้อม
สำหรับปัญหานั้นเป็นสิ่งที่ไม่อาจถูกผัดผ่อนได้อีกต่อไป ถึงเวลาเเล้วที่
สถาบันศิลปะจะต้องตั้งคำถามกับบทบาทของตัวเองนอกเหนือไปจากการ
สร้างสรรค์นิทรรศการเเละดึงดูดผู้เยี่ยมชมที่เพิ่มเติมไปจากหน้าที่ที่ต้อง
อนุรักษ์เเละค้นคว้าเกี่ยวกับศิลปะเเละวัฒนธรรม โครงการศิลปินพำนักนั้น
ก็ควรจะต้องตั้งคำถามเเบบเดียวกัน ในฐานะที่ช่วยให้ศิลปินได้มีโอกาสพบ
เจอกับสภาพเเวดล้อมที่ไม่คุ้นเคย ที่ซึ่งศิลปินสามารถทำการทดลองทาง
ศิลปะเเละสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์ในระดับนานาชาติ
다른 한편으로 소규모 전시공간과 콜렉티브들은 현재 팬데믹 상황을 역이용할 수 있는 기회가 될 수도 있다. 재난의 상황에서 수시로 중앙의 통제를 받아야 하는 대규모 공간들에 비해 상대적으로 통제가 적은 소규모공간들은 관람객과의 직접적인 접촉이 가능한 여지가 있으며, 점점 규모가 커지고 새로운 관객을 모을 수 있는 온라인 세계에서는 물리적 격차와 지리적 여건을 뛰어넘어 존재감을 드러낼 수 있다. 또한  새로운 시대의 요구에 빠르게 응답하고 반영할 수 있는 유연함을 가지고 있다. 이러한 소규모 공간, 그룹들은 팬데믹 이후의 완전한 대안을 제시하지 않더라도 소집단 중심으로 담론들을 생성하고, 다양한 프로젝트를 실험 가능한 거점의 역할을 할 수 있을 것이다.
On the one hand, the current situation of the pandemic can be a new opportunity for smaller exhibition spaces and collectives. Unlike larger institutions that are restricted by its central chain of commands, independent spaces with less constraints can still manage to host visitors in their space, as well as reach for a greater audience in the online world liberated from the physical and geological barrier. These minor spaces and collectives may not provide the ultimate answer for the post-pandemic era. Yet, they can be a promising ground for a timely discourse and groundbreaking experiments.
ในอีกเเง่หนึ่ง สถานการณ์ปัจจุบันของการเเพร่ระบาดสามารถกลายมาเป็นโอกาสใหม่สำหรับพื้นที่เเสดงงานขนาดเล็กเเละกลุ่มศิลปิน(collectives) ด้วยความที่สถาบันขนาดใหญ่นั้นถูกจำกัดด้วยอำนาจการตัดสินใจที่ต้องขึ้นอยู่กับศูนย์กลาง พื้นที่อิสระที่มีข้อบังคับน้อยกว่านั้นยังคงสามารถต้อนรับผู้เยี่ยมชมในพื้นที่ของตัวเอง เเละพร้อมกันนั้นยังสามารถเข้าถึงผู้ชมจำนวนมากผ่านโลกออนไลน์อันเป็นอิสระจากอุปสรรคทางกายภาพ พื้นที่เล็กๆเเละกลุ่มศิลปินเหล่านี้อาจไม่ได้เป็นคำตอบสุดท้ายของยุคหลังการเเพร่ระบาด เเต่มันก็สามารถเป็นฐานให้กับวาทกรรมเเละการทดลองที่ไม่เคยมีมาก่อนได้ 

2) 미술관 옆집 레지던시 <인투 제주>
2) Into Jeju, a residency at the Next Door to the Museum
2) Into Jeju, โครงการศิลปินพำนัก ที่ ‘ข้างๆพิพิธภัณฑ์เชจู’
제주도에서 활동 중인 시각예술가 이유진이 기획자로 올해 첫 시도한 국제레지던시 <인투 제주>는 코로나19로 인해 장소의 이동이 통제된 상황 속에 새로운 방법을 모색할 수밖에 없었다.
Into Jeju is the first international artist residency organized by Yujin Lee, a visual artist based in Jeju. Because of the travel restrictions imposed due to COVID-19, Lee had to seek an alternative way to host her very first residency.
Into Jeju เป็นโครงการศิลปินพำนักเเห่งเเรกที่จัดการโดยยูจิน ลี ซึ่งเป็นศิลปินทางด้านทัศนศิลป์ที่อาศัยอยู่ที่เชจู เนื่องจากข้อบังคับเกี่ยวกับการเดินทางที่เกิดขึ้นจากโควิด-19 ยูจินจึงต้องหาทางเลือกอื่นในการจัดโครงการฯ
<인투 제주>는 이유진이 오랜 시간을 외국에서 학업과 작품활동을 하다가 한국에 돌아온 뒤, 2018년도부터 제주 저지리에 농가주택을 개조하여 만든 자신의 집이자 작업공간인 ‘미술관 옆집 제주’에서 진행하는 국제 레지던시이다. 작가가 개인의 공간을 영리 목적이 아닌 비영리 공공재로 오픈하는 사례는 드문 경우인데, 이유진은 애당초 ‘미술관 옆집 제주’ 공간이 자신의 사적 공간을 타인과 공유하는 장소로 설계한 것이다. 제주로 이주한 이유진은 2019년 1월 ‘미술관 옆집 제주’공간을 완성한 후, 벽화를 제작하는 프로젝트를 진행한다.(각주2) 참여 작가로 오쉰 시바(인도)와 이혜인(한국) 초대하고 일정 기간 체류하면서 마을의 귤창고 등에 벽화를 그린 이 프로젝트는 이후 <인투 제주>를 위한 파일럿 프로그램으로 보아도 무방하다. 이러한 프로젝트를 통해 다양한 문화와 작업세계를 가진 다국적 작가들이 제주라는 낯선 지역에서 새로운 영감을 받아 작업 활동을 할 수 있도록 지원하고, 자신의 작업공간을 함께 쉐어하면서 각자의 작업세계를 공유 가능한 거점공간의 틀을 갖추게 된 것이다. 
After studying and working abroad for many years, Yujin Lee moved to Jeju Island in 2018 and acquired a farmhouse in the neighborhood of Jeoji-ri. After a renovation, she named this personal live/work space, Next Door to the Museum Jeju. Here, she planned to host Into Jeju, an international artist residency. It is rare for an artist to open up her private space to be used as a non-profit public space. Nonetheless, from the get-go, Lee arranged the compounds of Next Door to the Museum Jeju to be a communal space. After moving into this new base in January of 2019, Lee organized her first art project in the neighborhood. She invited artists Osheen Siva (India) and Hyein Lee (South Korea) to live with her for a short period of time and execute a mural on the outside walls of the two tangerine warehouses in the village, which to me sounds much like a pilot program for Into Jeju.  By opening up her private space, Lee constructed a base camp that provides Jeju’s unique environment to the international artists from diverse cultural backgrounds to share their artistic visions and inspirations with other artists.
หลังจากที่เรียนเเละทำงานอยู่ต่างประเทศหลายปี ยูจิน ลี ย้ายมาอยู่ที่
เกาะเชจูเมื่อปี๒๕๖๑ เธอได้เข้ามาเป็นเจ้าของบ้านสวนหลังหนึ่งในละเเวกที่
ชื่อว่าเชียวจิ-ริ ภายหลังการปรับปรุง เธอตั้งชื่อพื้นที่อาศัยเเละทำงานนี้ว่า 
ข้างๆพิพิธภัณฑ์เชจู โดยยูจินตั้งใจที่จะจัดโครงการศิลปินพำนักนานาชาติ
ชื่อว่า Into Jeju  ในที่แห่งนี้ เป็นเรื่องหายากที่ศิลปินจะเปิดพื้นที่ส่วนตัว
ให้กลายมาเป็นพื้นที่สาธารณะอันไม่หวังผลกำไร แต่ถึงอย่างนั้นเเล้ว ยูจินก็
ได้จัดสรรพื้นที่ใช้สอยของ ข้างๆพิพิธภัณฑ์เชจู ให้เป็นพื้นที่สำหรับใช้ร่วมกัน
มาตั้งเเต่เเรก หลังจากที่ยูจินย้ายเข้าพื้นที่ใหม่ในเดือนมกราคมปี๒๕๖๒ 
ยูจินก็ได้เริ่มโครงการศิลปะอันเเรกของเธอ(2) ยูจินได้ชวนศิลปิน Osheen 
Siva (อินเดีย) เเละ Hyein Lee (เกาหลีใต้) เพื่อมาพักอยู่เป็นระยะเวลาสั้นๆ
เเละวาดรูปบนกำเเพงด้านนอกของโรงเก็บส้มเขียวหวานสองเเห่งที่อยู่ใน
หมู่บ้าน โครงการนี้ฟังดูเหมือนจะเป็นโครงการนำร่องให้กับ Into Jeju โดย
ยูจินได้สร้างฐานของสภาพเเวดล้อมเฉพาะของเชจูขึ้นมา เพื่อให้ศิลปิน
ต่างชาติที่มีพื้นเพทางวัฒนธรรมเเละมุมมองทางศิลปะที่ต่างกันมาเเลก-
เปลี่ยนมุมมองทางศิลปะเเละเเรงบันดาลใจกับศิลปินคนอื่นๆ
거점공간의 준비를 마친 이유진은 올해 제주문화예술재단의 기금을 지원받아 국제레지던시 프로그램인 <인투 제주>를 기획하고 총 5명의 해외아티스트를 초대할 예정이었다. 각국의 아티스트들이 저지리로 모일 수 있었던 계획은 코로나19로 인해 무산된다. 유일하게 제주도 방문이 가능했던 독일작가 플로리아 봉길 그로세와 온라인 창작 레지던시로 전환한 태국작가 아라차 촐릿굴 2명이 본 레지던시에 참여하게 되었다. 
Sponsored by Jeju Foundation for Arts & Culture, Lee planned to launch Into Jeju in the spring of this year. Though initially five international artists have committed to travel to Jeoji-ri, many had to cancel due to COVID-19. In the end, Florian Bong Kil Grosse, German photographer based in Berlin, was the only artist who was able to make it to Jeju. And Aracha Cholitgul, Thai artist based in Bangkok, decided to bring her residency onto the online platform.
เมื่อได้รับเงินสนับสนุนจาก Jeju Foundation for Arts & Culture ยูจินวางเเผนที่จะเริ่มโครงการศิลปินพำนัก Into Jeju ในฤดูใบไม้ผลิของปีนี้ เเต่ถึงเเม้ว่าในตอนเเรกจะมีศิลปินต่างชาติห้าคนที่ตั้งใจจะเดินทางมาเชียวจิ-ริ หลายคนกลับต้องยกเลิกไปเนื่องจากโควิด-19 ในตอนท้ายนั้นมีเพียงช่างภาพเยอรมันที่อาศัยอยู่ที่เบอร์ลินคือ Florian Bong Kil Grosse เพียงคนเดียวที่สามารถเดินทางมาเชจูได้ กับ อรช โชลิตกุล ศิลปินไทยที่อยู่ที่กรุงเทพมหานคร ซึ่งได้ตัดสินใจย้ายโครงการศิลปินพำนักไปสู่พื้นที่ออนไลน์
개인이 개인의 사적 공간을 다른 이와 공유하는 공공 혹은 공유공간으로 시스템을 구축한다는 것, 이것은 기관 혹은 단체에서 운영하는 기존의 레지던시와 확연한 차이를 보일 수 밖에 없다. 우선 작가 선정, 운영 프로그램 등 이유진이라는 기획자의 가치관과 취향이 분명하게 반영될 수밖에 없다. 이유진의 공간은 기관에서 운영하는 레지던시와 달리 작가 자신의 작업실과 주거공간을 함께 쉐어하면서 자신도 이주해온 제주라는 지역성을 초대한 작가들과 함께 생활하고 공유하는 공동작업 혹은 프로젝트라는 개념이 더 가깝다고 볼 수 있다. 자신의 공간과 생활의 일부를 나누는 것, 기획자가 가장 잘 알고 소통이 가능한 작가를 초대하는 것, 그들에게 제주를 소개하고 함께 이 장소를 공유하는 것이 <인투 제주> 중요한 특이점이다. 따라서 <인투 제주>는 기존의 장소 특정적 레지던시 형식으로 운영하다가도 급작스러운 상황 속에서도 시간을 공유하는 ‘온라인 레지던시’로 빠르게 전환할 수 있었다.
A public artist residency run by an individual artist sharing her private space is a significant departure from the way a residency is run by an established institution or organization. First of all, the value ​​and taste of the individual organizer, in this case Lee, is evidently reflected in the selection of artists and its operating programs. Secondly, the residency itself becomes an extension of Lee’s conceptual and collaborative art practice, exploring a place that is still very much foreign to her. Key aspects of Into Jeju are Lee’s willingness to open her private space and life for a public program, her personal invitation to artists with whom she have had ties with previously, and the presentation of Jeju as an important location to host such a project. Because of all of the above reasons, Into Jeju was able to make a shift from a site-based artist residency (for Grosse) to a time-based “online” residency.
โครงการศิลปินพำนักสาธารณะที่ถูกดำเนินงานโดยศิลปินนั้นเป็นเหมือน
การเดินทางอันสำคัญซึ่งต่างไปจากวิธีที่องค์กรหรือสถาบันที่มีชื่อเสียงใช้
ดำเนินโครงการ อย่างเเรกคือ สิ่งที่ถูกให้ความสำคัญเเละความชอบส่วนตัว
ของผู้ดำเนินโครงการ ซึ่งในที่นี้คือยูจินนั้น จะสะท้อนออกมาให้เห็นในการ
เลือกศิลปินเเละระบบของการดำเนินงาน อย่างที่สองคือ โครงการศิลปิน-
พำนักยังได้กลายมาเป็นส่วนขยายของเเนวความคิดเเละวิธีทำงานศิลปะ
ของยูจินที่เป็นการทำงานร่วมกัน อีกทั้งยังเป็นการสำรวจพื้นที่ที่ยังคงเป็น
สถานที่ใหม่สำหรับเธอด้วย ประเด็นสำคัญของ Into Jeju นั้นอยู่ที่ความ
ตั้งใจของยูจินที่จะเปิดพื้นที่เเละชีวิตส่วนตัวให้กับโครงการสาธารณะ 
การเชิญศิลปินที่เธอรู้จักอยู่เเล้วเป็นการส่วนตัว รวมไปถึงการนำเสนอเชจู
ในฐานะที่เป็นสถานที่สำคัญของโครงการฯ ด้วยเหตุผลทั้งหมดนี้ Into Jeju 
จึงสามารถปรับตัวจากการเป็นโครงการศิลปินพำนักทีี่ยึดโยงกับพื้นที่ 
(สำหรับฟลอเรียน) มาเป็น“โครงการศิลปินพำนักออนไลน์” ได้อย่างรวดเร็ว

3) 인스타그램에 입주한 #예술가 
3) The #artist who moved into Instagram
3) #ศิลปิน ที่ย้ายไป Instagram
오늘날 수많은 이미지가 온라인상에 박제되고 있다. 언제부터인가 미술관의 방문 목적이 SNS의 업로드를 위한 사진 배경이 되는 것이 아닐까 싶을 정도로 이미지는 복제와 박제를 반복하고 있다. 온라인 세계에서는 오프라인에서 투자할 자원과 수용의 한계에 비해 훨씬 더 절감된 비용과 시간을 들여도 사용자 간의 개방과 연결이 확장될 수 있다. 이 개방된 열린 장소에서 수많은 디지털 자료와 정보들은 한 명의 인간의 기억이나 종이에 저장할 수 없을 정도의 무한대로 증식되고 온라인 세상에서 부유하는 것이다.
Today, countless images are being uploaded online, being endlessly copied and pasted. One may even question whether the purpose of a museum visit is merely to post pictures on one’s social media. Compared with the physical and financial limits of the offline world, the online platform can invite and connect users with much less time and cost. In this open space, numerous digital materials and information are being proliferated at a capacity beyond human memory or the possibility of its material existence. 
ทุกวันนี้รูปภาพจำนวนนับไม่ถ้วนได้ถูกส่งขึ้นออนไลน์ ที่นั่นกลายเป็นที่ซึ่ง
รูปภาพถูกคัดลอกเเละวางใหม่อย่างไม่มีที่สิ้นสุด บางคนอาจตั้งคำถาม
เรื่องของการไปพิพิธภัณฑ์เเค่เพียงที่จะลงรูปในโซเชียลมีเดีย เมื่อเปรียบ
เทียบข้อจำกัดทางกายภาพเเละทางการเงินของโลกออฟไลน์กับพื้นที่ออน-
ไลน์เเล้ว พื้นที่ออนไลน์สามารถเชื้อเชิญเเละเชื่อมต่อผู้ใช้งานโดยใช้เวลา
เเละค่าใช้จ่ายที่น้อยกว่ามาก ในพื้นที่เปิดเเห่งนี้ วัตถุดิจิตัลเเละข้อมูลมาก-
มายนั้นถูกเเพร่กระจายด้วยความจุที่มากเกินระดับความทรงจำของมนุษย์
หรือเเม้กระทั่งเกินความเป็นไปได้ของตัวตนของมันในทางกายภาพ
전 세계 많은 사람이 사용하고 있는 소셜네트워크서비스(이하 SNS) 중 하나인 인스타그램은 이미지를 주로 공유하고 해시태그로 콘텐츠를 그룹화하여 검색할 수 있어 이미지를 단순하고 빠르게 불특정 다수에게 개방, 실시간 공유가 가능하다. 또한, 라이브방송 다음으로 현장을 전달할 수 있는 장점으로 수많은 전시공간이 새로운 관람객을 모객하고 소통하기 위한 매체로 활용하고 있다. 
Instagram, a widely used social media platform, is a quick and simple way to share images with many people at all times. Mainly an image sharing platform, it uses hashtags to categorize images for others to search. Because of its verisimilitude, Instagram is used by many exhibition spaces as a tool to attract and communicate with their new “followers.”
Instagram นั้นเป็นโซเชียลมีเดียที่ใช้กันอย่างเเพร่พลาย มันเป็นวิธีที่เร็ว
เเละง่ายสำหรับการส่งต่อรูปภาพให้กับคนหลายคนพร้อมๆกันในทุกสถาน-
การณ์ มันเป็นพื้นที่หลักสำหรับส่งต่อรูปภาพที่ใช้แฮชเเทกในการจัดเเบ่ง
เป็นหมวดหมู่เพื่อให้ผู้อื่นค้นหา การที่ Instagram มีความสามารถในถ่าย
ทอดสิ่งที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริงนั้น พื้นที่จัดเเสดงงานหลายเเห่งจึง
นิยมใช้มันเป็นเครื่องมือในการดึงดูดเเละสื่อสารกับ "ผู้ติดตาม"ใหม่ๆ

아라차 촐릿굴이 참여한 <인투 제주> 온라인 레지던시의 입주 장소는 제주도가 아닌 인스타그램이다. 이유진은 아라차의 한국 체류가 코로나19로 인해 무산되면서 온라인 창작 레지던시의 플랫폼으로 인스타그램 계정 @im_there_r_u_here을 개설한다. 제주에 체류예정이었던 4주 동안 촐릿굴과  이유진은 함께 화상통화인 Zoom, 그리고 Explain Everything이라는 디지털 화이트보드 프로그램을 활용하여 드로잉과 온라인 대화, 지시문 형태의 퍼포먼스 등 온라인상에서 할 수 있는 행위를 실험하고 그 과정과 결과물을 인스타그램 계정에 총 44개의 게시물로 업로드한다. 업로드된 작업물들은 레지던시 기간 동안 아라차와 이유진이 동시접속하여 실시간으로 소통하면서 진행된 것들이 대부분이기 때문에 그들 스스로도 이 활동은 레지던시의 개념보다 공동 작업이자 협업프로젝트의 성격에 더 가깝다고 언급한다.
Aracha Colitgul’s online residency, Into Jeju, takes place on Instagram, and not in Jeju. When Cholitgul’s travel to Korea was hindered due to COVID-19, an Instagram account @im_there_r_u_here was launched as an alternative place to host her online creative residency. Over a period of four weeks, Cholitgul’s planned length of stay in Jeju, Cholitgul and Lee used Zoom, a video conferencing service, and Explain Everything, a digital whiteboard program, to make drawings, conversations, and other forms of performative experimentations that is possible online. Many parts of their processes and activities are shared on the account in 44 individual posts. Most posts are made in real time, containing activities performed together. Consequently, they consider this project more of a collaborative work, rather than a conventional artist residency.
โครงการศิลปินพำนัก Into Jeju ของอรชนั้นไม่ได้อยู่บนพื้นที่ของเชจูเเต่เป็น
บน Instagram เมื่อการเดินทางไปเกาหลีของอรชนั้นถูกระงับด้วยโควิด-๑๙ 
บัญชี @im_there_r_u_here บน Instagram นั้นก็ถูกเปิดขึ้นมาเพื่อรองรับ
โครงการศิลปินพำนักออนไลน์นี้ ในระยะเวลาสี่สัปดาห์ตามเวลาที่ถูกกำหนด
ไว้สำหรับโครงการฯนั้น อรชเเละยูจินได้ใช้ Zoom ซึ่งเป็นบริการสำหรับการ
ประชุมด้วยวิดีโอเเละ Explain Everything ที่เป็นกระดานไวท์บอร์ดดิจิตัล 
เพื่อวาดรูป พูดคุย เเละทำการทดลองทางการเเสดงออกในเเบบต่างๆที่สา-
มารถทำได้ในพื้นที่ออนไลน์ กระบวนการเเละกิจกรรมหลายอย่างนั้นถูกเเชร์
ไว้ในหน้า Instagram เป็นจำนวน ๔๔ โพสต์ โพสต์ส่วนใหญ่เกิดจากกิจ-
กรรมที่ทำด้วยกันในขณะนั้น ทั้งคู่จึงนับวิธีการทำงานนี้ว่าเป็นการทำงาน
ร่วมกันมากกว่าที่จะเป็นโครงการศิลปินพำนักตามเเบบแผน
<인투 제주> 온라인 창작 레지던시에 참여한 아라차 촐릿굴은 1988년 태국 방콕 출생이며 도예를 전공한 아티스트이다. 손으로 깍고 만지는 신체의 감각과 손의 노동을 주로 해왔던 촐릿굴은 사람과 대상과의 관계, 그리고, 삶 속에서 매번 맞닥뜨리는 오류와 불확실성에 관심을 가지고 그것이 벌어진 의미와 극복할 수 없는 원인과 작용에 대한 탐구를 하고 있다. 2018년에 제작한 아티스트북 <The Book of Enlightenment – Limits>은 자신이 임의로 의미를 설정한 기호와 문양으로 문장을 조합하고, 문장의 내용을 지운 기호와 문양이 관람객에게 본래 뜻과 다르게 해석되는 오류가 발생하도록 유도한다. 대상과 대상이 관계를 맺으면서 발생되는 오작동들과 그로 인해 생기는 현상들이 주 관심사인 그에게 이번 온라인 레지던시를 위한 이유진과의 협업에서 생기는 친밀감과 소통 과정의 기술적 에러나 오류들이 새로운 시각과 영감을 주었을 것이라 기대해본다. 
Aracha Cholitgul, a participating artist of the online creative residency Into Jeju, was born in 1988, in Bangkok, Thailand. Having majored in ceramics, Cholitgul’s work is tactile and shows the labor of the hand. Interested in the myriad of errors and uncertainties she encounters in  her relationships with objects and people, or in life in general, Cholitgul explores the meaning and the insurmountable cause and effect that emerge in the process. In 2018, she published an artist book titled, The Book of Enlightenment – Limits, which contains sentences made out of arbitrary symbols and patterns created by the artist. Readable texts are all blacked out, leaving the reader with only the pictorial text, ultimately resulting in misinterpretations. Interested in the phenomena of malfunctioning in relationships, I wonder how her online collaboration with Lee with its own technical errors as well as a different kind of intimacy may influence her perspective and future practices.
อรช โชลิตกุล ศิลปินที่เข้าร่วมในโครงการศิลปินพำนัก Into Jeju เกิดเมื่อปี
๒๕๓๑ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย ด้วยความที่อรชเรียนจบเอกเซรามิก 
งานของเธอจึงเกี่ยวข้องกับการสัมผัสเเละเเสดงให้เห็นถึงเเรงงานที่เกิดขึ้น
ผ่านการทำงานด้วยมือ ความสนใจของเธออยู่ที่ความสัมพันธ์ต่อสิ่งของ
หรือผู้คนรวมถึงความผิดพลาดเเละความไม่เเน่นอนมากมายที่บุคคลหนึ่ง
จะพบเจอในชีวิต รวมไปถึงการค้นหาความหมาย สาเหตุ เเละผลกระทบที่ไม่
สามารถหลีกเลี่ยงได้ของสิ่งเหล่านี้ ในปี๒๕๖๑ อรชทำหนังสือชื่อว่า The 
Book of Enlightenment - Limits ซึ่งประกอบไปด้วยประโยคที่สร้างขึ้น
จากสัญลักษณ์เเละลวดลายที่ศิลปินคิดขึ้นมาเอง ข้อความส่วนที่อ่านได้ถูก
ขีดฆ่าเเละผู้อ่านก็สามารถอ่านได้เเค่ในส่วนของข้อความภาพ ซึ่งก็จะทำให้
ไม่สามารถตีความได้อย่างถูกต้อง ตัวฉันที่สนใจในปรากฏการณ์ของความ
สัมพันธ์ที่ไม่สามารถทำงานได้อย่างปกตินั้นสงสัยว่าการทำงานร่วมกันบน
พื้นที่ออนไลน์ของเธอกับยูจินที่เต็มไปด้วยความผิดพลาดทางเทคนิค และ
ความใกล้ชิดที่ต่างจากออกไปจากรูปเเบบปกตินั้นจะส่งอิทธิพลต่อมุมมอง
รวมไปถึงวิธีการทำงานของเธอในอนาคตอย่างไร

4) 제3지대의 공간
4) The third domain
4) พื้นที่เเห่งที่สาม
SNS 기반의 온라인 플랫폼을 활용한 온라인 레지던시가 과연 기존의 레지던시를 대체하거나 뛰어넘을 수 있는 새로운 대안이 될 수 있을까. 촐릿굴과 이유진은 대면 불가능한 현실에서 동시에 접속하여 커뮤니티를 형성할 수 있고, 이 과정의 기록을 불특정 다수에게 개방이 용이한 디지털 공간 @im_there_r_u_here를 제주도와 치앙마이 사이에 있는 중간 어느 지점에 존재하는 새로운 장소인 ‘제3지대의 공간'이라고 명명한다. 둘은 동시 접속할 수 있는 시간을 정해놓고, 화상통화를 하거나 인스타그램의 라이브방송을 통해 본인의 사적 공간 및 창작활동을 이 제3지대에 실시간으로 공유한다. 약속된 시간에 동시 접속하여 맥주를 마시면서 일상적인 대화를 나누고, 함께 음악을 듣거나 실험적 드로잉 협업을 진행하는 장면들은 라이브로 송출하여 온라인 상에 공유한다. 또한, 편집된 결과물이 아카이빙 되어 레지던시가 끝난 뒤에도 시간과 장소에 구애받지 않고 누구나 접속할 수 있는 오픈스페이스가 되기도 한다. 
Can an artist residency that is based on an online social media platform be the next new thing or even exceed the promises of an existing residency system? In the era of social distancing, Cholitgul and Lee log into a digital community space that they created, @im_there_r_u_here, which floats somewhere in between Jeju and Chiang Mai. They call it the third domain, where an archive of their collaborative process becomes accessible to an unspecified public. At a scheduled time, they both log into this third domain and expose their private space and creative activities in real time using video calls or live streaming technology. Their daily conversations over beer or collaborative drawing experiments are broadcasted live and shared online. In addition, their work is edited and archived as posts on their account, allowing unrestricted access to the public regardless of time and place.
โครงการศิลปินพำนักที่อยู่ในพื้นที่ออนไลน์ของโซเชียลมีเดียนั้นจะสามารถ
กลายมาเป็นสิ่งใหม่หรือถึงขั้นที่ไปไกลเกินกว่าคำสัญญาจากระบบของ
โครงการศิลปินพำนักที่มีอยู่เเล้วได้หรือไม่? ในช่วงเวลาของการเว้นระยะ
ห่างทางสังคม อรชเเละยูจินนั้นสามารถที่จะเข้าสู่ชุมชนดิจิตัลที่ทั้งคู่ได้สร้าง
ขึ้นมาคือ @im_there_r_u_here ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ลอยอยู่สักแห่งหนึ่งระหว่าง
เชจูกับเชียงใหม่ ทั้งคู่เรียกมันว่า พื้นที่เเห่งที่สาม ที่ซึ่งข้อมูลเกี่ยวกับขั้นตอน
การทำงานร่วมกันที่เก็บไว้สามารถถูกเข้าถึงได้โดยบุคคลสาธารณะ ทั้งคู่เข้า
สู่ระบบพร้อมกันภายในพื้นที่แห่งที่สาม ตามเวลาที่นัดกันไว้ เเละในขณะ
เดียวกันก็เปิดพื้นที่ส่วนตัวรวมถึงกิจกรรมการสร้างสรรค์ผ่านวิดีโอคอล 
หรือการไลฟ์สด บทสนทนาประจำวันที่เกิดขึ้นระหว่างการกินเบียร์หรือการ
วาดรูปร่วมกันนั้นได้ถูกถ่ายทอดสดเเละเเชร์ออกไป นอกจากนี้ งานของทั้งคู่
ยังได้ถูกปรับเเต่งเเละเก็บไว้เป็นโพสต์บน Instagram ทำให้ทุกคนสามารถ
เข้าถึงมันได้โดยไม่มีข้อจำกัดทางเวลาเเละสถานที่
본 레지던시의 기획자이자 촐릿굴의 협업작가이기도 한 이유진은 첫 번째 참여작가 봉길이 제주를 떠난 뒤에 그가 사용했던 별채(레지던시 공간)를 정리하면서, 원래 예정대로 촐릿굴이 방문하여 채웠어야 할 공간이 갑자기 텅 빈 것에 대해 허전한 감정을 느꼈다고 한다.(각주3) 제주도에 직접 방문하고 체류했던 봉길은 스스로 자신의 작업과 생활을 탐구하기 때문에 기획자와 작가와의 경계가 자연스럽게 생기게 된다. 따라서 한 장소에 있더라도 기획자가 사용하는 공간과 입주 작가가 사용하는 작업공간이 각각 독립적으로 구역이 분리될  수밖에 없다.
As both a collaborative artist of Cholitgul and the organizer of the residency, Lee felt a sense of void cleaning the resident artist’s quarter after the first participating artist had left Jeju. She prepared the space for Cholitgul, who could not physically occupy it. Grosse, who was able to occupy the space in Jeju, took an independent approach in exploring his new living environment and developing a new body of work. The relationship between Grosse and Lee was naturally determined by a separate role taken by each, that of the artist and the host. Even though they lived together, the residency space was inevitably divided into two zones, one for the host and the other for the resident artist.
ในฐานะที่เป็นทั้งผู้ดำเนินโครงการศิลปินพำนักเเละศิลปินที่ทำงานร่วมกับ
อรช ยูจินนั้นรู้สึกถึงความว่างเปล่าตอนที่ทำความสะอาดพื้นที่ของโครง-
การฯหลังจากที่ศิลปินคนเเรกเดินทางกลับจากเชจู ยูจินได้เตรียมพื้นที่ให้กับ
อรช ผู้ซึ่งไม่สามารถมาอยู่ได้ในทางกายภาพ(๓) ฟลอเรียนที่สามารถมาอยู่ที่
เชจูนั้นทำการสำรวจสภาพเเวดล้อมของที่อยู่ใหม่เเละพัฒนาผลงานอย่าง
เป็นอิสระด้วยตัวเอง ความสัมพันธ์ของฟลอเรียนเเละยูจินจึงถูกกำหนดด้วบ
บทบาทของทั้งคู่ นั่นคือผู้ดูเเลเเละศิลปิน ถึงเเม้ว่าฟลอเรียนกับยูจินจะ
อาศัยอยู่ในพื้นที่เดี่ยวกัน เเต่พื้นที่ของโครงการฯก็ได้เเบ่งเป็นสองพื้นที่ด้วย
เช่นกัน นั่นคือพื้นที่ของผู้ดูแลเเละของศิลปิน

반면, 촐릿굴은 제주도에 올 수 없게 되었지만 이유진과 정해진 시간에 ‘제3지대의 공간’으로 동시 접속하고 기획자와 작가가 동등한 관계에서 계획한 협업을 진행한다. 이것은 물리적 공간에 함께 있을 때와는 또 다른 형태의 친밀감이 형성되는데, 마치 같은 작가이자 친한 친구로서의 만남 혹은 마치 연인과의 장거리 연애를 하는 느낌처럼 서로의 시간을 공유하고 연대를 쌓아가며 기획자와 작가와의 시간이 분리 되지 않고 결합되는 것이다.
On the contrary, despite the fact that Cholitgul could not physically be in Jeju, she was able to plan and execute the residency alongside Lee in the third domain, democratizing the role of the host and the artist. This process allowed a different kind of intimacy than that of sharing a physical space. The host and the artist’s time is overlaid and integrated, as if two close artist friends or a long-distance romantic lovers bond over their shared time.
ในทางกลับกัน ถึงเเม้ว่าอรชจะไม่สามารถมาอยู่ที่เชจูได้ในทางกายภาพ 
เธอสามารถวางเเผนเเละจัดการโครงการศิลปินพำนักร่วมกับยูจินในพื้นที่
แห่งที่สาม ทำให้บทบาทของผู้ดูเเลกับศิลปินนั้นเท่าเทียมกัน กระบวนการนี้
เอื้อให้เกิดการสร้างความใกล้ชิดในเเบบที่เเตกต่างออกไปจากการอยู่ด้วยกัน
ในพื้นที่ทางกายภาพ เวลาของผู้ดำเนินโครงการเเละศิลปินทับซ้อนเเละ
หลอมรวมกัน เหมือนกับเพื่อนศิลปินสองคนที่สนิทกันหรือคู่รักที่อยู่ใน
ความสัมพันธ์ระยะทางไกลที่ผูกพันกันผ่านเวลาที่ได้ใช้ร่วมกัน

5) 제3지대 밖의 공간
5) The space outside the third domain
5) พื้นที่นอกพื้นที่แห่งที่สาม
팬데믹 이후 예술계 전반에 <인투 제주>를 비롯한 가상세계에서 생성되는 제3지대의 공간들은 우리가 상상하는 것 이상으로 다원화된 형태로 발전하게 될 것이다. 
In the post-pandemic era, the third domain created within the virtual world such as Into Jeju, will diversify to a degree that we cannot yet imagine.
ในยุคหลังจากการเเพร่ระบาดนั้น พื้นที่เเห่งที่สาม ที่ถูกสร้างขึ้นในโลก-
เสมือนเช่นเดียวกับ Into Jeju นั้นคงจะมีมากมายหลายรูปเเบบในระดับที่
เกินกว่าพวกเราจะจินตนาการได้
‘제3지대의 공간’ @im_there_r_u_here 계정은 촐릿굴과 이유진이 만나는 가상플랫폼이자 협업의 과정 및 결과물들을 통해 관객과 만나는 교차지점이다.
As a third domain, the account @im_there_r_u_here is both a virtual platform where Cholitgul and Lee meet, and a point of intersection where their collaborative work and practice is exposed to the audience.
บัญชี @im_there_r_u_here ในฐานะของ พื้นที่เเห่งที่สาม นั้นเป็นเหมือน
กับพื้นที่เสมือนให้อรชกับยูจินมาเจอกัน อีกทั้งยังเป็นจุดตัดระหว่างการทำ-
งานร่วมกันกับผู้เยี่ยมชมอีกด้วย
가상의 공간은 제3지대라는 이 교차지점 밖에서도 형성된다. 촐릿굴이 이유진을 통해 보는 ‘제주’라는 장소는 이 두 사람의 관계에서만 구축될 수 있는 환영 속의 영역이자 또 다른 형태의 왜곡된 공간이다. 촐릿굴은 이유진이라는 인물을 통해 정확히는 이유진이 활동하는 영역과 시각으로 전달하는 정보로 제주를 여행하고 관찰가능하다. 직접 대상을 보고 그 장소를 체감하는 것이 아닌 온라인이라는 매개체와 이유진이라는 타자에 의해 접근하는 ‘제주’는 실제보다 축소되거나 과장된 장소로 전달될 수밖에 없다. 그 왜곡된 공간은 작가의 머릿속에 혹은 글이나 그림으로 드러날 것이다. 즉 제3지대 공간들은 SNS를 넘어 다양한 형태로 생성될 것이며, 그런 점에서 촐릿굴이 이유진이라는 타자를 통해 경험한 ‘제주’라는 공간이  어떻게 작품화 되거나 향후 작업활동에 어떤 영향을 주게 될지 기대된다.
Outside the intersection of this third domain, another kind of virtual world is created, which is Cholitgul’s understanding of Jeju as a place. Seen through Lee, Cholitgul’s Jeju is an illusion or anamorphosis that only exists between them or mirrors their relationship. Cholitgul’s observation of Jeju is limited to Lee’s perspective and boundaries. Traveling through a vehicle of the internet and a body of another person, Cholitgul’s idea of “Jeju” is inevitably reduced or exaggerated. This contorted place then will manifest in the artist's mind or be expressed into art. Such are the many forms of the third domain, besides social media. I would be curious to see how Cholitgul’s experience of “Jeju” through a proxy turns up in her future work and practice.
ภายนอกของจุดตัดของพื้นที่เเห่งที่สาม พื้นที่เสมือนอีกเเบบหนึ่งได้ถูกสร้างขึ้น ความเข้าใจเหี่ยวกับพื้นที่ของเชจูที่มองผ่านสายตาของยูจินนั้น เป็นเหมือนกับภาพลวงตาหรือไม่ก็ภาพอันบิดเบี้ยวที่เกิดขึ้นได้ในฐานะที่มันเป็นภาพสะท้อนของความสัมพันธ์ของทั้งคู่ อรชเดินทางเเละสังเกตเชจูผ่านเขตเเดนเเละมุมมองของยูจิน ประสบการณ์ที่เกิดขึ้นผ่านพาหนะอินเทอร์เนตเเละผ่านร่างกายของบุคคลนั้น ทำให้ความคิดเห็นของอรชที่มีต่อเชจูนั้นได้ถูกลดค่าลงหรือถูกทำให้เกินจริงอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ สุดท้ายเเล้วพื้นที่ที่บิดงอนี้ได้ส่งผลส่อความคิดของศิลปินเเละถูกเเปลไปเป็นศิลปะ ดังนี้เเล้วพื้นที่เเห่งที่สามนั้นจะถูกเเสดงออกมาในหลากหลายรูปเเบบที่มากไปกว่าการถูกจำกัดโดยโวเชียลมีเดีย ฉันนั้นสงสัยว่าประสบการณ์ของอรชเกี่ยวกับ”เชจู”ผ่านทางร่างกายอื่น(ซึ่งในที่นี้คือร่างกายของยูจิน) จะปรากฏขึ้นในวิธีทำงานเเละงานในอนาคตของเธออย่างไร

6) 핑퐁- 핑퐁- 관계 맺기
6) Ping Pong- Ping Pong: Relational practice
6) ป๊อกเเป๊ก ป๊อกเเป๊ก กระบวนการทำงานที่เกี่ยวโยงกัน
팬데믹 이후 대다수의 레지던시들이 온라인을 활용하는 방법을 오픈스튜디오를 라이브방송으로 공유하거나, 작가와 전문가 매칭 프로그램을 비대면을 진행하는 방식으로 전환된다. 그 중 인천아트플랫폼의 11기 시각예술분야 입주작가들의 결과보고 <2020 플랫폼 아티스트 당장의 질문>展(각주4)과 토탈미술관과의 공동기획으로 진행한 국제교류프로그램 <여행하는 예술가의 가방>展(각주5)은 단순히 대면프로그램을 비대면으로 전환하거나, 실제 전시를 영상으로 제작하여 온라인으로 업로드하는 형식에서 벗어나 현시대에 대한 깊은 고민과 사유 자체를 결과물로 공유한다.
Since the pandemic, most artist residencies turned their open studios into live streaming and studio visits to video calls. There were, however, two exemplary cases organized by Incheon Art Platform that showed a deeper contemplation upon this adjustment, breaking away from the unoriginality of making an offline event into a non-face-to-face event or simply creating video documentations of exhibitions and uploading them online. First is a group exhibition of its 11th year artists-in-residence, 2020 Platform Artists: Questions For Now. The second is the international exchange program organized with Total Museum, The Show Must Go On.
ตั้งเเต่ที่มีสถานการณ์การเเพร่ระบาด โครงการศิลปินพำนักหลายเเห่งได้เปลี่ยนการเยี่ยมชมสตูดิโอไปเป็นการถ่ายทอดไลฟ์เเละวิดีโอคอล อย่างไรก็ตามมีสองตัวอย่างจาก Incheon Art Platform ที่เเสดงให้เห็นถึงการไตร่ตรองอย่างละเอียดที่เกิดขึ้นในการปรับตัวครั้งนี้ที่ต่างออกไปจากการตัดสินใจที่เป็นที่นิยมคือการย้ายงานที่เป็นออฟไลน์ไปสู่งานที่ไม่ต้องเจอหน้ากัน หรือไม่ก็เเค่สร้างการเก็บข้อมูลของนิทรรศการเป็นวิดีโอเเละส่งขึ้นสู่พื้นที่ออนไลน์ ตัวอย่างเเรกคือนิทรรศการกลุ่มของโครงการศิลปินพำนักครั้งที่11 2020 Platform Artists: Questions For Now(4) เเละตัวอย่างที่สองคือโครงการเเลกเปลี่ยนนานาชาติที่จัดโดย Total Museum ที่ชื่อว่า The Show Must Go On.(5)
촐릿굴과 이유진의 <인투 제주>는 둘 간의 공동작업형태로 진행되기에 입주작가의 작품을 @im_there_r_u_here에 홍보하거나 작업실을 소개하는 것이 아닌 기획자와 작가 두 사람의 협업이 더욱 강조된다. 이들의 4주간 여정은 한 사람에게 치우치지 않고 동등한 입장에서 SNS를 통해 대중에게 노출하거나 게스트를 초대하여 자신들의 작업에 동참하도록 유도한다는 점이 여타 레지던시와 다른 차별성을 가지고 있다. 이 관계 맺기는 온라인 레지던시 프로그램을 진행하기 위해 시작한 것이지만 처음에 어색하고 낯설었던 언택트(각주6) 방식의 소통이 점점 익숙해지면서 협업으로 이어지고, 새로운 아이디어를 실현하는 단계로 이어지게 되는 것이다.
Rather than promoting the resident artist’s work or opening the artist’s studio on @im_there_r_u_here, Into Jeju focuses on a collaborative element built together between Cholitgul and Lee. The unique aspects that differentiate their four-week journey from other residencies are that they not only have equal roles and exposures on their shared platform, but also collaboratively develop their project by inviting other guests to participate. Though at first, such “untact” communication may seem awkward and unfamiliar, such relational practice has gradually become an essential tool for their online residency. As they eased into this new method, the residency evolved into a meaningful collaboration that led to a place to realize new ideas.
Into Jeju นั้นให้ความสำคัญกับองค์ประกอบของการทำงานร่วมกันระหว่าง
อรชเเละยูจินมากกว่าที่จะเผยเเพร่งานของศิลปินในพำนักหรือเป็นการ
เยี่ยมชมสตูดิโอบน @im_there_r_u_here สิ่งที่ทำให้การเดินทางระยะเวลา
สี่สัปดาห์นี้เเตกต่างจากโครงการศิลปินพำนักอื่นคือ การที่ทั้งคู่นั้นมีบทบาท
เเละได้รับการสนับสนุนอย่างเท่าเทียมกันบนพื้นที่ รวมไปถึงการเชิญชวนคน
อื่นๆให้เข้ามามีส่วนร่วมในงานของทั้งคู่ ถึงเเม้ว่าในตอนเเรกวิธีการสื่อสาร
เเบบ “ติดต่อเเบบไม่ติดต่อ”(๖) นั้นจะเป็นเรื่องที่ไม่คุ้นเคยและน่ากระอักกระ-
อ่วน วิธีการทำงานที่เกี่ยวโยงกันนั้นได้กลายมาเป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับ
โครงการศิลปินพำนักออนไลน์ของทั้งคู่ อย่างไรก็ตาม เมื่อทั้งสองเชี่ยวชาญ
กับการวิธีทำงานนี้มากขึ้น โครงการศิลปินพำนักนี้ก็ได้พัฒนาไปเป็นการ
ทำงานร่วมกันที่พาไปสู่พื้นที่ของเเนวความคิดใหม่ๆ
특히 두 명의 창작자가 협업한 온라인 레지던시의 성격은 촐릿굴이 그린 8장의 도식 드로잉(각주7)을 통해 명료하게 드러난다. 이 8장의 벤 다이어그램은 촐릿굴과 이유진의 관계, 시차를 두고 동떨어진 두 장소에 지내는 두 사람이 접속하는 제3지대 공간, 레지던시 기간동안 진행해온 프로그램의 성격, 진행했던 스케줄 등이 도식화 되어있다. 이 드로잉은 단지 본 레지던시의 성격을 드러내는 것만이 아니라 비대면과 비접촉이 불가피하게 되었을 때 사람과 사람, 사람과 장소가 새로운 관계를 형성하는 모습을 비유하기도 하다.
The essence of their collaborative online residency is clearly illustrated in the eight diagrammatic drawings created by Cholitgul. These van diagram drawings depict the followings: the relationship between Cholitgul and Lee; the third domain accessible by two people living in two distant locations with two different time zones; the nature of the activities conducted during the residency; and their daily schedule. Cholitgul’s diagrams are not only applicable to their residency, but also representative of a new kind of relationship that can form between people or between people and places in the era of non-face-to-face and non-contact reality.
ความสำคัญของโครงการศิลปินพำนักออนไลน์ที่เป็นการทำงานร่วมกันนี้ใด้ถูกอธิบายผ่านทางเเผนภาพเเปดภาพที่อรชวาดขึ้น(7) โดยเเสดงภาพดังนี้: ความสัมพันธ์ระหว่างอรชกับยูจิน, พื้นที่เเห่งที่สาม ที่คนทั้งสองที่อยู่กันคนละพื้นที่เเละเขตเเบ่งเวลาสามารถเข้าถึงได้, ลักษณะของกิจกรรมที่เกิดขึ้นในโครงการ, ตารางของเเต่ละวัน เเผนภาพของอรชไม่เพียงเเต่จะใช้อธิบายโครงการศิลปินพำนักของเธอได้ เเต่ยังสามารถใช้เปรียบกับความสัมพันธ์เเบบใหม่ที่เกิดขึ้นระหว่างผู้คนกับผู้คนหรือผู้คนกับสถานที่ในยุคของการไม่เจอหน้าเเละไม่ติดต่อกัน

3. 제3지대가 소멸하지 않기 위해서
3. Preserving the third zone
3. การคงไว้ซึ่งพื้นที่เเห่งที่สาม
<인투 제주>의 온라인 레지던시는 우리에게 여러 시사점을 남긴다. 촐릿굴은 이번 레지던시에 참여하면서 결론적으로는 온라인 레지던시 활동이 흥미롭고 새로운 시점을 제공했지만, 자신의 작업의 연장선이 되는 관계성에 어떤 의미가 있을지에 대한 의문과 작가의 작업 완성도에 대해 생각을 하게 되었다고 말한다. 보통 실제 레지던시에 입주했을 시에는 작품에 집중하고 최종적으로 전시와 작품의 완성을 위한 에너지가 많이 소모되는데, 온라인 레지던시에서 진행한 행위들은 즉흥적이고 어린아이와 같은 순수한 느낌이 많이 들었다고 한다. 물론 새로운 예술 과정과 공유지점이 열리게 되어 긍정적인 지점들이 있었으나, 한편으로는 이러한 방식이 일회적인 해프닝이 아닌 시각예술 장르 전반에 수용이 되고, 과연 이것이 미술계에서 받아들일 수 있을지에 대한 ‘의문’을 가지게 되었다고 밝힌다.(각주8)
There are many takeaways from the online residency, Into Jeju. As for Cholitgul, though it gave her an interesting new perspective, she contemplated its relevance to her ongoing practice, as well as the lack of finesse in the final work of art. A typical art residency requires the artist to focus their energy on producing new work and executing an exhibition at the end of their stay. However, the online residency asked for an improvisation, giving the final appearance of the work a sense of child-like innocence. Though it is without a doubt noteworthy to try original artistic processes and to connect with other creative minds, Cholitgul wonders whether this method is merely a one-off event or could ever be applied to and accepted by the mainstream art world.
มีหลายประเด็นเกิดขึ้นในโครงการศิลปินพำนักออนไลน์ Into Jeju 
สำหรับอรชนั้น ถึงเเม้ว่าการได้เข้าร่วมในโครงการฯนั้นได้ให้มุมมองใหม่ที่
น่าสนใจสำหรับเธอ เเต่มันก็ทำให้อรชครุ่นคิดถึงความเกี่ยวข้องของมันต่อ
วิธีการทำงานของเธอที่กำลังทำอยู่ รวมไปถึงการที่ผลงานในตอนจบนั้นขาด
ความสมบูรณ์เเบบตามอย่างปกติ โครงการศิลปินพำนักทั่วไปต้องการให้
ศิลปินใช้พลังงานในการสร้างงานใหม่เเละจัดนิทรรศการเมื่อสิ้นสุดเวลาของ
โครงการ อย่างไรก็ตาม โครงการศิลปินพำนักออนไลน์นั้นขอให้ศิลปินด้นสด 
จึงทำให้หน้าตาของงานที่ออกมามีความใสซื่อเเบบเด็กๆ เเละถึงเเม้ว่ามัน
เป็นเรื่องสำคัญที่จะพยายามทำงานตามวิธีการปกติของตัวเองเเละหาทาง
เชื่อมต่อกับผู้ที่ทำงานด้วยกัน อรชนั้นสงสัยว่าวิธีการทำงานนี้จะเป็นเพียง
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวหรือว่าสามารถถูกนำไปใช้เเละเป็นที่ยอม
รับโดยโลกศิลปะกระเเสหลักได้(๘)
촐릿굴이 느낀 이 ‘의문’의 정체는 무엇일까. 단순히 기존의 형식과 다른 새로운 형태의 예술의 행위가 낯설어서 느끼는 미시감일까. 아니면 그 외에 간과한 부분은 무엇일까.
Where does Cholitgul’s doubt come from? Is it a natural sense of jamais vu when dealing with unfamiliar forms that are unlike other existing art forms? If not, let’s consider some things we may have overlooked.
ความไม่เเน่ใจของอรชมาจากไหน? สิ่งนี้ใช่ประสาทรับรู้ตามธรรมชาติที่เกิด
ขึ้นเวลาเจอกับสิ่งที่ไม่เคยเห็นเเละต้องจัดการกับสิ่งที่ไม่คุ้นเคยซึ่งต่างจาก
รูปเเบบของงานศิลปะอื่นๆที่มีอยู่เเล้วหรือไม่? ถ้าไม่ใช่ ลองมาพิจารณาถึง
อะไรบางอย่างซึ่งอาจถูกมองข้ามไป
첫번째로 온라인의 한계는 누구에게나 개방된 이 ‘제3지대의 공간’의 작업물들이 온전히 그 활동을 체화할 수 있는 사람은 행위자와 그 시간에 참여한 공유자들이며, 후에 그 기록물을 관람하는 자들에게는 현장의 느낌이 잘려나가고 단편적인 부분만 수용하거나 왜곡될 수밖에 없을 것이다. 반대로 팬데믹이라는 상황 속에서도 우리가 완전한 고립이 되지 않고 서로의 안부를 물어볼 수 있었던 것은 불가피하게 이용하고 있는 언택트 기술이 뒷받침되었기 때문이다.  
First, the only ones who can fully experience the activities performed on this third domain of the internet are the artists and other real time participants. For those who see the posts after the live events, the experience will inevitably be reduced, fragmented or distorted compared to its live version. Though amusingly, under the current situation of the pandemic, the “untact” technology is the only way we can avoid complete isolation and disconnection.
อย่างเเรกคือ คนที่จะได้รับประสบการณ์จากกิจกรรมที่เเสดงบน พื้นที่เเห่งที่สาม นี้มีเเค่ศิลปินเเละผู้เข้าร่วมคนอื่นๆ สำหรับคนอื่นๆที่มาดูโพสต์หลังจากไลฟ์นั้น ประสบการณ์ที่ได้รับจะไม่เต็มที่เท่ากันอย่างเเน่นอน อาจจะได้รับเพียงบางส่วน หรือมีบางอย่างที่บิดเบี้ยวไปจากตอนไลฟ์ อย่างไรก็ตาม ภายใต้สถานการณ์ของโรคระบาด วิทยาการการติดต่อเเบบไม่ติดต่อนั้นเป็นทางเดียวที่ทำให้เราหลีกเลี่ยงการต้องถูกเเยกเดี่ยวเเละขาดความเชื่อมต่อได้
그러나 작가가 오랜 시간을 쌓아온 손의 감각과 작품과 실제 마주하여 느낄 수 있는 신체적 경험을 새로운 전환기라는 이유로 축소시키거나 다른 형식에 의존하라고 몰아넣는 분위기, 따라서 우리는 새 시대에 대비하여 기존의 것을 버리고 변화해야 하다는 조바심, 사회 분위기에 맹목적으로 쏠리는 듯한 강박감이 무겁게 다가오기도 한다.
Yet again, there is a fear of a blind and forceful social tendency that not only pressures the artists to sacrifice the sensual quality of the artist’s hand that has been cultivated over a long period of time, but also takes away the physical experience of an artwork from the audience. At times, this impatience to abandon everything in order to adjust to the new era gives me chills.
ความกลัวต่ออาการมืดบอดเเละเเรงบังคับของสังคมนั้นไม่เพียงเเต่จะกดดัน
ให้ศิลปินต้องเสียสละคุณค่าของสิ่งที่สัมผัสได้ด้วยมือที่สั่งสมมาเป็นระยะ
เวลานาน หากมันยังเเย่งเอาประสบการณ์ทางกายภาพของศิลปะไปจากผู้ดู
งานอีกด้วย ในบางทีฉันก็รู้สึกกลัวความใจร้อนที่ทำให้ต้องทิ้งทุกอย่างไปใน
การที่จะปรับตัวเข้าหายุคสมัยใหม่
또한, 앞서 언급했듯이 지역적 제약을 벗어나 온라인이라는 공간에서 수평적인 관계로 시작되는 것과 같이 보일 수도 있지만, 그만큼 누구나 콘텐츠를 생산할 수 있는 춘추전국시대와 같은 필드에서 하루에도 쏟아지는 새로운 정보들에 밀려 소외되는 것이 현실이다. 기술력을 갖추고 네트워크와 디지털 자료의 방대한 물량을 아카이빙이 가능한 대규모 뮤지엄과 디지털 기술과 자본력이 낮은 미술계의 독립공간들의 격차는 더 벌어질 것이다. 이것은 비단 미술계만이 아니라 국가의 규모, 사회적 지위와 환경에 따라 계층 간의 양극화는 심해지고 디지털 환경에 익숙하지 않은 세대들은 소외될 것이다. 실제로 사회 곳곳에서 세상의 극변하는 흐름을 따라갈 수 없는 환경에 놓인 계층과 세대의 사회적 고립과 위기는 더욱 심화될 것이라는 우려가 흘러나온다.
Secondly, as mentioned earlier, even though the world of the internet starts as a democratic field of possibilities, the reality is that if anybody can produce and publish contents online, then that also means that one’s work would easily be marginalized or buried under the insurmountable new information that enters the network every day. In other words, the heavyweight museums equipped with technology and capability will be able to archive big amounts of digital data, while smaller independent art spaces with less digital technology and financial backing will fall further behind. This drawback is not limited to the art world. The polarization between big and small countries and amongst people with varying social backgrounds will become irreversible, not to mention the alienation of the older generation who are not used to the digital environment. In fact, concerns have been raised about the aggravating isolation and crisis faced by certain groups of people whose living condition is not as adaptable to face the demanding changes of the world.
อย่างที่สองนั้นได้พูดถึงไว้เเล้วก่อนหน้านี้คือ ถึงเเม้ว่าโลกอินเทอร์เนต
จะเริ่มต้นจากการเป็นพื้นที่เเห่งความไปได้อันเป็นประชาธิปไตย แต่ในความ
เป็นจริงนั้น การที่ใครก็ได้สามารถสร้างเเละตีพิมพ์เนื้อหาออนไลน์ได้นั้นมัน
เท่ากับว่าเป็นเรื่องง่ายที่งานของคนๆหนึ่งจะถูกผลักให้ไปอยู่ชายขอบหรือ
ถูกฝังอยู่ภายใต้ข้อมูลใหม่ๆจำนวนนับไม่ถ้วนที่เข้ามาในเครือข่ายทุกวัน 
ในทางกลับกัน บรรดาพิพิธภัณฑ์ใหญ่ๆที่มีวิทยาการเเละกำลังพร้อมนั้นสา-
มารถเก็บรักษาข้อมูลดิจิตัลได้เป็นจำนวนมาก โดยที่พื้นที่ศิลปะอิสระขนาด
เล็กที่มีวิทยาการเเละเงินทุนน้อยกว่าก็จะตกไปอยู่ข้างหลัง ความเสียเปรียบ
นี้ไม่ได้มีอยู่เพียงเเค่ในโลกศิลปะเท่านั้น สิ่งนี้เกิดขึ้นระหว่างประเทศใหญ่กับ
ประเทศเล็กรวมถึงในบรรดาผู้คนที่มีพื้นฐานทางสังคมที่เเตกต่างกัน 
การเเบ่งขั้วนี้จะกลายมาเป็นสิ่งที่ไม่สามารถเเก้ไขได้ ทั้งนี้ยังไม่รวมถึงคนรุ่น
เก่าที่ไม่เคยชินกับสภาพเเวดล้อมดิจิตัล อันที่จริงเเล้วก็มีความกังวลเกี่ยวกับ
การตอกย้ำการถูกเเยกเดี่ยวเเละวิกฤตของคนบางกลุ่มที่สภาพชีวิตไม่ได้
ยืดหยุ่นพอที่จะเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงได้ตามที่โลกต้องการ
마지막으로 디지털 자료, 즉 비물질을 저장, 보관하는 방식에 대해서도 재고해 볼 필요가 있다. 창작물과 자료를 생산하는 기술력과 자본도 격차가 생기지만, 완성된 창작물을 아카이빙하고 보존하는 문제, 그리고 온라인상에 떠돌면서 전송, 복제될 때마다 생기는 저작권의 문제 또한 우리가 깊게 고민해봐야 할 것이다.
Lastly, a way to store and archive non-material digital data must be thought through. Besides the inequity in technology and capital to produce art and information, there is the issue of archiving and preserving completed works of art. Furthermore, the issue of copyrights is a topic of interest as well, especially in the time of the internet’s copy paste culture.
สิ่งสุดท้ายคือ วิธีที่จะใช้เก็บรักษาข้อมูลดิจิตัลที่ไม่มีตัวตนนั้นก็เป็นเรื่องที่
ต้องนำมาคิด ความเหลื่อมล้ำไม่เพียงมีอยู่เเค่ในวิทยาการเเละเงินทุนที่ใช้
สร้างงานศิลปะเเละข้อมูลเท่านั้น เเต่มันยังอยู่รอบๆปัญหาของการเก็บ
รักษาผลงานศิลปะที่เสร็จเเล้วด้วย นอกจากนี้ ประเด็นเรื่องลิขสิทธิ์ก็เป็น
หัวข้อสำคัญที่ต้องให้ความสนใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคของวัฒนธรรม
การคัดลอกจัดวางของอินเทอร์เนต
@im_there_r_u_here은 인스타그램이라는 SNS의 자리를 빌려 운영한다. 디지털 데이터는 물질로 이루어진 데이터보다 쉽게 소실될 위험도가 크다. 이 또한 자본과 기술의 영향이 클 수밖에 없으며, 대형 기업의 시스템을 빌려 구축한 수많은 예술계의 비물질 아카이브는 언제든 사라질 위험에 있다. 2000년 초반 국내에 가장 붐을 일으켰던 싸이월드(각주9)가 이용자 데이터는 휘발시켜 버린 채 매년 간신히 도메인만 연장하고 있는 좀비가 된 사례를 통해 ‘제3지대의 공간’이 가진 유리성과 같은 속성을 짐작할 수 있다. 따라서 예술가 개인이 디지털 자료의 보존과 사후 관리를 위한 시스템을 유지하는 것은 매번 한계와 위기에 봉착할 것이며, 임대나 대여하는 기관의 존폐에 따라 시간과 창작의 기록이 축적된 제3지대 공간들의 생존이 좌지우지가 될 것이다. 디지털 데이터의 영구보존에 대한 문제, 디지털 사진, 영상, 텍스트뿐만 아니라 @im_there_r_u_here 계정 하나도 그 자체로 하나의 디지털 창작물로 보는 시각도 중요하다. 이것이 종이인쇄물로 편집이 되거나 다른 매체로 재제작 되었을 때, 그것은 원본이 아닌 2차 저작물이 되기 때문이다. 
@im_there_r_u_here runs on a social media platform called Instagram. Digital data has a greater risk of being lost compared to the material data. Considering how much digital data relies on capital and technology, many non-material art archives that use platforms built by big corporations are in danger of erasure. An exemplary case is Cyworld, the most popular online social networking platform in South Korea in the early 2000s. After losing most of its user data, it exists today like an internet zombie that can barely stand its own existence. The case of Cyworld demonstrates the fragility of the third domain. Therefore, one can only imagine many limitations and deadlocks an individual artist may face in the maintenance of a system that could preserve and manage their art in the form of digital data. Ultimately, the survival of such third domains that carry an accumulation of time and content will depend on the existence of the platform providers. Acknowledging the creative value of digital data--including not only digital photos, videos, and texts, but also an account such as @im_there_r_u_here--is crucial in driving its permanent preservation. Because even if such data is reproduced into other forms like a printed material, it still cannot replace the original digital art.
@im_there_r_u_here นั้นทำงานอยู่บนโชเชียลมีเดียที่ชื่อว่า Instagram  
ข้อมูลดิจิตัลนั้นมีความเสี่ยงที่จะสูญหายได้ง่ายกว่าข้อมูลกายภาพมาก 
เมื่อคำนึงถึงการที่ข้อมูลดิจิตัลนั้นต้องพึ่งพาเงินทุนเเละวิทยาการเเล้ว
ข้อมูลงานศิลปะดิจิตัลที่ถูกเก็บไว้บนพื้นที่ที่ถูกสร้างโดยองค์กรขนาดใหญ่
ก็มีความเสี่ยงที่จะถูกลบทิ้ง ตัวอย่างหนึ่งได้เเก่พื้นที่โซเชียลเนตเวิร์ค
ที่ได้รับความนิยมสูงสุดในเกาหลีช่วงต้นปี๒๕๔๓ ชื่อ Cyworld หลังจากที่
ข้อมูลผู้ใช้ส่วนใหญ่ของมันสูญหาย การมีอยู่ของมันในทุกวันนี้ก็ไม่ต่างจาก
ซอมบี้อินเทอร์เนตที่เเทบจะคงสภาพตัวเองไว้ไม่ได้ กรณีของ Cyworld 
เเสดงให้เห็นถึงความเปราะบางของ พื้นที่เเห่งที่สาม ดังนั้นเเล้วศิลปินอาจ
ต้องเจอกับข้อจำกัดจำนวนมากในการที่จะรักษาระบบที่บริหารเเละเก็บรวบ
รวมข้อมูลดิจิตัลเอาไว้ สุดท้ายเเล้ว พื้นที่เเห่งที่สาม ที่รองรับการรวบรวม
เวลาเเละเนื้อหานั้นจะอยู่รอดได้ก็ขึ้นอยู่กับผู้ให้บริการพื้นที่ การเห็นคุณค่า
ของข้อมูลดิจิตัลนั้นเป็นเรื่องที่สำคัญ ไม่ว่าจะเป็นรูปภาพดิจิตัล วิดีโอ หรือ 
ข้อความ นอกจากนี้บัญชีผู้ใช้อย่างเช่น @im_there_r_u_here ในฐานะที่
เป็นผลงานศิลปะก็จำเป็นต้องหาหนทางที่จะเก็บรักษาข้อมูลไว้ให้ได้อย่าง
ถาวร เพราะว่าถึงเเม้จะผลิตข้อมูลดังกล่าวซ้ำเป็นวัตถุสิ่งพิมพ์ มันก็ไม่
สามารถมาเเทนที่ต้นฉบับที่เป็นงานศิลปะดิจิตัลได้
하나의 데이터가 미래세대에 물러줄 가치 있는 유산인지에 대한 판단을 미처 하기 전에 소멸되는 상황을 인지할 필요가 있으며, 팬데믹 이후 새 시대를 준비하는 공공기관의 책임을 인지하고 민간이 협력하여 공공의 데이터를 기록하고 보존을 위한 방안을 구축해야할 숙제이다. 
Digital data may be lost in the process of waiting to be declared valuable enough to preserve for the future generation. Public institutions must take on the role and responsibility of collaborating with the private sector to secure and preserve public data in preparation of the post-pandemic era.
ข้อมูลดิจิตัลนั้นอาจสูญหายไปในระหว่างที่มันรอคอยว่าจะถูกตีค่าว่าเป็นสิ่งสำคัญพอหรือไม่สำหรับคนในอนาคต สถาบันสาธารณะจำเป็นที่จะต้องรับบทบาทเเละความรับผิดชอบในการประสานงานกับภาคส่วนเอกชนในการรักษาข้อมูลสาธารณะเพื่อเตรียมพร้อมสำหรับยุคหลังการเเพร่ระบาด
그럼에도 불구하고 촐릿굴과 이유진의 <인투 제주> 온라인 창작 레지던시는 재난의 위기 속에 개인과 개인이 소통과 연대를 맺고 이전과 다른 개념의 공간 형태를 상상할 수 있었다. 규범과 규칙보다는 각자의 공간에서 동시간대를 핑퐁, 핑퐁- 공유하며 당사자 간의 관계 맺기에 충실한 협업이었다. 이 ‘제3지대의 공간’에서는 아티스트, 기획자, 비평가, 관람객 등 하나로 규정된 역할은 모호해지고 누구나 참여하고 반응할 수 있는 광장이자, 누구든지 어렵지 않게 SNS 계정을 만들 듯이 생성할 수 있는 공간이다.
Nevertheless, Cholitgul and Lee’s online creative residency, Into Jeju, enabled us to imagine a different kind of space and a possibility to communicate and connect against all odds challenged by a catastrophe. They broke norms and rules by bouncing their time against each other without leaving their respective places, like playing a game of ping pong. Committed to a relational practice, it was a truly collaborative effort. In this third domain, the roles of an artist, organizer, critic, and audience are blurred. It is an open square where anyone can participate and respond. It is an accessible and effortless place to be creative. It is as easy as opening up a new Instagram account.
อย่างไรก็ตาม โครงการศิลปินพำนักออนไลน์ Into Jeju ของอรชเเละยูจิน
ได้ช่วยให้เราสามารถจินตนาการถึงพื้นที่ที่มีรูปเเบบที่เเตกต่างออกไป รวม
ถึงความเป็นไปได้ในการสื่อสารเเละการติดต่อที่ถูกท้าทายโดยวิกฤตการณ์
ทั้งคู่ได้ทำลายบรรทัดฐานเเละกฎเกณฑ์ต่างๆ โดยโยนเวลาเเลกกันไปมา
อยู่ในพื้นที่ของตัวเองเหมือนกับเล่นปิงปอง ความทุ่มเทในการทำงานที่
เกี่ยวโยงกันนี้นับว่าเป็นความพยายามร่วมกันอย่างเเท้จริง 
ใน พื้นที่เเห่งที่สาม บทบาทของศิลปิน ผู้ดำเนินงาน นักวิจารณ์เเละผู้ดูงาน
นั้นคลุมเครือ มันเหมือนกับช่องสี่เหลี่ยมที่เปิดกว้างให้ใครก็ได้เข้ามามีส่วน
ร่วมเเละโต้ตอบ มันเป็นสถานที่ที่ทุกคนสามารถเข้าถึงเเละทำการสร้าง-
สรรค์ได้ง่ายๆเหมือนกับการเปิดใช้บัญชี Instagram
이들의 작업은 4주의 기간으로 끝나는 것이 아니라 장기프로젝트로 지속할 예정이다. 레지던시 사업 일환으로 진행된 4주의 시간은 짧지만 ‘제3지대의 공간’을 구축하고 ‘관계맺기’를 형성하는 것에 충실했다면, 레지던시 이후의 협업은 더욱 자율성을 가지고 자유로운 활동이 될 것으로 기대가 된다. 물리적 공간에 벗어나 새로운 공간을 만들었다면, 이번에는 규칙에서 탈피한 시간을 상상하고 유영해보기를 바란다. 
Cholitgul and Lee plan to continue their collaboration after this four-week residency period. Having constructed the third domain and begun their relational practice in just four weeks time, their post-residency collaboration is expected to be even more autonomous filled with many ambitious activities. As they were able to free themselves from the restriction of place, in their next journey, I hope they can imagine and navigate through the obscurity of time.
อรชเเละยูจินวางแผนที่จะสานต่อการทำงานร่วมกันนี้หลังจากจบช่วงระยะ
เวลาสี่สัปดาห์ของโครงการศิลปินพำนัก การที่ทั้งคู่สามารถสร้าง พื้นที่เเห่ง-
ที่สาม ขึ้นมาได้ เเละเริ่มการทำงานที่เกี่ยวโยงกันภายในระยะเวลาเพียงเเค่
สี่สัปดาห์นั้น ทำให้คาดหวังได้ว่าการทำงานร่วมกันหลังจากโครงการศิลปิน-
พำนักนั้นน่าจะยิ่งมีความเป็นอิสระเเละเต็มไปด้วยกิจกรรมที่ทะเยอทะยาน
มากกว่านี้อีก เมื่อทั้งคู่นั้นเป็นอิสระจากข้อจำกัดทางพื้นที่เเล้ว ฉันเองก็หวัง
ว่า ทั้งคู่จะสามารถจินตนาการเเละนำทางผ่านความไม่เเน่นอนของเวลาได้
ในการเดินทางครั้งต่อไป
그리고 이‘제3지대’가 소멸되지 않기를.
And last but not least, I pray that this “third zone” persists.
สุดท้ายเเต่ไม่ท้ายสุดนั้น ฉันขอให้ “พื้นที่เเห่งที่สาม” นี้ยังคงมีอยู่ต่อไป
Back to Top